
ศูนย์การเรียนรู้เรื่องการควบคุมยาสูบ
สถิติการเข้าใช้งาน 46906 ครั้ง
ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2566
ชื่อโปรแกรม :
หลักสูตรพื้นฐานเพื่อการควบคุมยาสูบสำหรับบุคลากรวิชาชีพสุขภาพ (Basic-Quit)
ผู้รับผิดชอบ :
– เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่
– แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ
เงื่อนไขผู้เข้าร่วมโปรแกรม :
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพสุขภาพ
2.ต้องผ่านการวัดระดับความรู้ในการบำบัดรักษาโรคยาสูบก่อนเข้ารับการอบรม
3.ต้องเคยบำบัดโรคเสพติดยาสูบมาแล้วอย่างน้อย 10 รายใน 1 ปีที่ผ่านมา
สถานที่สอน :
1.Online เข้าเรียนได้ที่เว็บไซต์ https://thaiquitsmoking.org/
2.On-site ณ อาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ฯ
วันที่จัดทำโปรแกรม :
13 พฤษภาคม 2565
ผู้รับผิดชอบโปรแกรม :
1.ศ.นพ.สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล
2.รศ.นพ.สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา
3.พญ.ธญรช ทิพยวงษ์
Re-Certification :
ทุก ๆ 3 ปี
คำอธิบายโปรแกรม
ศาสตร์ของการควบคุมยาสูบและบริการเลิกยาสูบ ทั้งในผู้ที่มีและไม่มีปัญหาสุขภาพ ประกอบด้วย แรงบันดาลใจและเจตนคติในสหวิชาชีพ Health consequence (E-Cig) & Nicotine dependence
ระบบบริการการบำบัดรักษาผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบและผู้ที่มีภาวะติดนิโคตินในประเทศไทย
Nicotine dependence treatment (สอบถาม /บำบัด / หมั่นติดตาม) สายด่วนเลิกบุหรี่ 1600 และ Tobacco industry interference
จำนวนชั่วโมงที่ใช้การศึกษาในโปรแกรม TTND
ทฤษฎี : 6 ชั่วโมง
การปฏิบัติ : 6 ชั่วโมง
รวม : 12 ชั่วโมง
การพัฒนาผลการเรียนในกลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่มุ่งหวัง
1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรมที่ต้องการพัฒนา
พัฒนาผู้เข้ารับการอบรมให้มีแรงจูงใจและความรับผิดชอบในฐานะที่อยู่ในทีมสหวิชาสุขภาพในการให้การบำบัดรักษาผู้เสพ/ติด ยาสูบ เข้าถึงปัญหาและความรู้สึก เคารพในศักดิ์ศรีและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ของผู้ที่มีและไม่มีปัญหาสุขภาพ รวมถึงเพื่อนร่วมงาน
1.2 วิธีการสอน
– Experiential Teaching / Learning
1.3. วิธีการประเมินผล
– Learning participation
– Critical Appraisal /performance scale / Checklist
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องการพัฒนา
ศาสตร์ของการควบคุมยาสูบและบริการเลิกยาสูบ ทั้งในผู้ป่วยที่ยังไม่ป่วย และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประกอบด้วย แรงบันดาลใจและเจตนคติในสหวิชาชีพ Health consequence (E-Cig) & Nicotine dependence ระบบบริการการบำบัดรักษาผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบและผู้ที่มีภาวะติดนิโคตินในประเทศไทย Nicotine dependence treatment (สอบถาม /บำบัด / หมั่นติดตาม) สายด่วนเลิกบุหรี่ 1600 และ Tobacco industry interference
2.2 วิธีการสอน
– Hybrid Teaching and Learning strategies
– Experiential Teaching / Learning
– Case analysis / Simulation / Gamification
2.3 วิธีการประเมินผล
ภาคทฤษฎี – Online Test
ภาคปฏิบัติ – Role Paly
3.ทักษะ
ทักษะที่ต้องการพัฒนา
มีสมรรถนะในการให้บริการการบำบัดรักษาภาวะติดนิโคตินอย่างบูรณาการได้ตามมาตรฐานและสอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน
3.1 วิธีการสอน
– Hybrid Teaching and Learning strategies
– Experiential Teaching / Learning
– Case analysis / Simulation / Gamification
3.2 วิธีการประเมินผล
– Critical Appraisal /performance scale / Checklist
Want to receive push notifications for all major on-site activities?